กำหนดการ
7-8 พฤศจิกายน 2567 ณ มจธ. ราชบุรี
7 พฤศจิกายน 2567
การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อให้ความรู้ในการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรท้องถิ่นเพื่อช่วย “ลด” และ “ชดเชย” (lower & offset) การปล่อยคาร์บอนจนเป็นกลาง7-8 พฤศจิกายน 2567 ณ มจธ. ราชบุรี
08.30 – 09.30 ลงทะเบียน
09.30 – 09.45 พิธีเปิดกล่าวต้อนรับ รายงานที่มาและวัตถุประสงค์ โดย ผศ.ดร. สคาร ทีจันทึก ประธานเครือข่าย C- อพ.สธ. ภาคกลางตอนล่าง
09.45 – 10.25 กล่าวเปิด และ ปาฐกถาพิเศษมจธ. ราชบุรี : การจัดการเรียนการสอน แบบ Residential College และ ยุทธศาสตร์การสร้าง Collective Impact ของเครือข่ายอุดมศึกษาภาคกลางตอนล่าง โดย รองอธิการบดี มจธ. ราชบุรี
10.25 – 10.40 พักเบรก
10.40 – 12.00 Panel discussion “โอกาสและความท้าทายของสถาบันอุดมศึกษาในการไปสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอน” (โดยสถาบันอุดมศึกษาเครือข่าย)
- การวัดการปล่อยคาร์บอนขององค์กร (Carbon Footprint of Organization)โดย
- การจัดการพลังงานในอาคารเพื่อผลประหยัดและลดการปล่อยคาร์บอนโดย ดร.ปรีชา อาการศ สำนักบริหารอาคารและสถานที่ (สบอ.) มจธ.
- การปลูกต้นไม้เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียว ลดอุณหภูมิ และดูดซับคาร์บอนโดย ผศ.ดร. สคาร ทีจันทึก ผู้อำนวยการศูนย์สิรินธรเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
- ความเป็นกลางทางคาร์บอน: การทำงานร่วมกันระหว่างมหาวิทยาลัยกับชุมชนโดยดำเนินการเสวนา โดย รศ.ดร.สุนีรัตน์ ฟูกุดะ JGSEE มจธ.
12.00 – 13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 – 14.30 การอบรมหัวข้อ การวัดการปล่อยคาร์บอนขององค์กร (Carbon Footprint of Organization)โดย ดร.ปรีชา อาการศ สบอ. มจธ.
14.30 – 15.00 พักเบรก
15.00 – 17.00 ผู้เข้าอบรมฝึกปฏิบัติกับข้อมูลจริงของแต่ละสถาบันฯ ในการประเมินการปล่อยคาร์บอนขององค์กร (Carbon Footprint of Organization)โดย ทีม มจธ.
8 พฤศจิกายน 2567
09.00 – 09.40 การบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับการลดการปล่อยคาร์บอน เช่น การใช้พลังงานทดแทน การลดการใช้ไฟฟ้า การลดขยะของเสีย โดย ดร.ปรีชา อาการศ สบอ. มจธ.
09.40 – 10.15 การบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับการชดเชยการปล่อยคาร์บอนโดย ดร.นิตยา ชาอุ่น JGSEE มจธ.
10.15 – 10.30 พักเบรก
10.30 – 12.00 การทดลองเกี่ยวกับการวัดและคำนวณปริมาณการกักเก็บคาร์บอนของต้นไม้ใน พื้นที่ของสถาบันอุดมศึกษาในเครือข่ายโดย ดร.นิตยา ชาอุ่น และทีม มจธ.
12.00 – 13.00 พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 – 14.30 การวิเคราะห์แผน/แนวทางการดำเนินงานสู่การเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University)โดย ดร.ปรีชา อาการศ สบอ. มจธ.
14.30 – 15.00 พักเบรก
15.00 – 16.30 ผู้เข้าอบรมฝึกปฏิบัติกับข้อมูลจริงของแต่ละสถาบันฯ ในการวิเคราะห์แผน/แนวทางการดำเนินงานสู่การเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวโดย ดร.ปรีชา อาการศ และทีม มจธ.
16.30 – 17.00 ถาม-ตอบ